top of page

Physio EP: 37🤔วันนี้จะมาพูดถึงปวดหลังเรื้อรัง และภาวะขาสั้นยาวไม่เท่ากันเกี่ยวกันยังไง (Pelvic correction and Leg length discrepancy) เคสนี้เป็นเคสที่ทำให้เจ็บคอหนักมาก เพราะต้องอธิบายเยอะจริงๆ 🤔

 🛑เมื่อวานได้มีโอกาสให้คำปรึกษาและช่วยตรวจเคสเพื่อนชาวอินเดีย โดยที่เพื่อนมีอาการปวดแถวก้นกบ โดยเฉพาะด้านขวา และมีความรู้สึกเหมือนขาสองข้างสั้นยาวไม่เท่ากัน (จนต้องไปหา insole มาใส่) รวมทั้งรู้สึกว่าตนเองมีกระดูกสันหลังคดร่วมด้วย และเมื่อทำการ test พบว่ามี Posterior instability เยอะมาก (PA Perturbation) และทำ Faber test :+ Rt

 🛑จากการ test sacral alignment พบว่า

 1️⃣Upper Pole : Rt. Hip flexion พบว่า Rt. PSIS move laterally*

 2️⃣Upper Pole : Lt. Hip flexion พบว่า Lt. PSIS move laterally*

 3️⃣Upper Pole : Rt. Hip extension พบว่า S2 restriction*

 4️⃣Upper Pole : Lt. Hip extension พบว่า S2 move posteriorly

นอกจากนี้ยังมีการ test ที่ lower pole อีก 4 อัน แต่วันนั้นไม่ได้ทำ เพราะเวลาจำกัด และกลัวว่าถ้าอธิบายไปเยอะอาจทำให้สับสนได้

 🔘เมื่อพบปัญหาลักษณะนี้ จริงๆสามารถตรวจต่อ alignment ส่วนใกล้เคียวต่อได้เลย แต่ตอนนั้นขอทำการตรวจการทำงานของกล้ามเนื้อรอบๆนี้ก่อน โดยทำการเช็คการเนื้อทั้งทางด้าน Anterior และ Posterior chain ก่อน

เบื้องต้นพบว่า

Rt. Iliacus neurological underactive

Lt. QL neurologically overactive

Rt. Gluteus maximus neurological underactive

Lt. gluteus medius neurological overactive

เมื่อพบปัญหานี้จึงทำการ corrective exercise ดูก่อน

 1️⃣Release Lt.QL -> Activate Rt. Iliacus

 2️⃣Release Lt.gluteus medius-> Activate Rt. Gluteus maximus

จึงทำการ recheck อีกรอบนึง

 1️⃣Upper Pole : Rt. Hip flexion พบว่า Rt. PSIS move inferiorly + posteriorly + medially

 2️⃣Upper Pole : Lt. Hip flexion พบว่า Lt. PSIS move inferiorly + posteriorly + medially

 3️⃣Upper Pole : Rt. Hip extension พบว่า S2 move posteriorly

 4️⃣Upper Pole : Lt. Hip extension พบว่า S2 move posteriorly

 ทีนี้จากปัญหาขาสั้นยาวไม่เท่ากัน จึงลองให้เช็คในท่านอนคว่ำ พบว่า Lt. leg is longer than Rt.

แต่พอให้งอเข่า แล้วดูอีกรอบกลับพบว่า Rt. Leg is longer than Lt. (ความยาวขาสามารถวัดได้อีกหลายแบบด้วยกัน เช่น วัดจาก reference point จุดเดียวกัน แต่ ณ เวลานั้นไม่มีสายวัด)

เมื่อเป็นแบบนี้ทำให้ยิ่งสนุกขึ้น เพราะต้องคิดว่า ปัญหานี้จะเป็น ANTERIOR หรือ POSTERIOR Rotation of Pelvis???? ข้างไหนกันแน่!!!!!

 ง่ายๆเลย เพราะว่าตอนแรกอยู่ในท่า Posterior tilt -> femur หมุนใน acetabulum เลยทำให้สั้นกว่า และพอทำให้เกิด Anterior tilt จึงทำให้ยาวกว่า ดังนั้นจึงมอง muscle imbalance ข้างขวาต่อ ที่ทำให้เกิด posterior tilit เพราะฉะนั้นเคสนี้ปัญหาเรื่อง LLD มาจาก functional LLD ไม่ใช่ structural LLD เพราะงั้นน่าจะพอแก้ไขได้ และจากการ palpation + จุดเกาะของเค้าทำให้เราไปหยุดที่ Rt. Medial และ Lateral hamstring พบว่าเค้า imbalance

 จึงทำการ correction โดยRelease Rt. Medial hamstring และ activate Rt. Lateral hamstring

จึงทำการเช็ค LLD ต่อในท่านอนคว่ำพบว่า เหยียดขาตรง 2 ข้างได้เท่ากัน รวมทั้งในท่างอเข่าก็เท่ากัน

 ต่อด้วยให้เพื่อนทำท่า marching ก่อนทำการตรวจภาวะ Upslip และ downslip รวมทั้ง inflare และ outflare ปรากฏว่าไม่พบภาวะผิดปกติใดๆ (จริงๆถ้าตรวจภาวะอื่นๆนี้ก่อนทำการ correction อาจจะพบปัญหาก็ได้ แต่เมื่อผ่านการทำการ correction ไปแล้ว การทำงานของกล้ามเนื้อรอบๆ กลับมาทำงานได้ปกติ เลยอาจจะทำให้ภาวะอื่นๆใกล้เคียงนั้นหายไปได้)

 เมื่อ alignment ดูดีขึ้น และ pain ที่ tailbone ลดลง เหลือเฉพาะตอนนั่งเท่านั้น รวมทั้งยังคงพบ Posterior instability อยู่เล็กน้อย จึงขอตรวจ ligament รอบๆอีกนิดนึง NKT testing พบว่า arcuate pubic ligament neurologically overactive (*คำแนะนำคือใช้มือคนไข้เป็นหลักนะครับ!!!) และ Rt. Sacrotuberous ligament neurologically underactive arcuate (เพิ่งได้จากการซักประวัติเพิ่มตอนหลัง ว่าก่อนหน้าที่มีอาการเจ็บที่นี่เคยล้มก้นกระแทกมาก่อน)

 หลังจากนั้นจึงทำการ Deactivated arcuate pubic ligament และ activated Rt. Sacrotuberous ligament

 หลังจากนั้นจึงพบว่า Posterior instability และ pain ที่ tailbone ขณะนั่งหายไป และ double check อีกรอบด้วย faber test : - Rt. สรุปการบ้านเคสนี้ให้แค่จัดการตัว self-treatment ที่ligament และจัดการแค่ที่ medial และ Lateral hamstring ก็พอ

 ♥️Take home message♥️

 🔴เมื่อกล้ามเนื้อรอบๆไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ligament ใกล้เคียงต้องรับ load เพิ่มมากขึ้น พูดให้งงขึ้นไปอีกนิดนึงก็คือ ถ้าเป็นแบบนั้นจะทำให้ mechanoreceptor บน ligament อาจเกิด neurological overactive และส่งผลต่อ local muscle function ได้

ดังนั้นการให้ความสำคัญต่อligament จึงเป็นสิ่งที่มีผลอย่างมาก โดยเฉพาะนักกีฬา และโดยต้องทำการ correct receptor ร่วมกับ local muscle imbalance จะเป็นวิธีหนึ่งที่มีผลต่อการรักษาอย่างมากเลยทีเดียว


---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บ้านใจอารีย์คลินิกกายภาพ มี 2 สาขา

!!ยินดีให้คำปรึกษา ฟรี!!

📌สาขา เยาวราช

-แผนที่ : https://g.co/kgs/kXSEbT

-โทร : 080 425 9900


📌สาขา เพชรเกษม81

-แผนที่ : https://g.co/kgs/MVhq7B

-โทร : 094 654 2460

-Line :

 
 
 

Comments


Our Partner

สาขาเพชรเกษม 81
  • facebook
  • generic-social-link
  • generic-social-link

256/1 ซอยวุฒิสุข (ข้างสน.หนองแขม) เพชรเกษม 81, หนองแขม, กทม. 10160

สาขาเยาวราช
  • facebook
  • generic-social-link
  • generic-social-link

9 ถนนพระรามที่ ๔ แขวง ป้อมปราบ

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
(อยู่ติดแยกหมอมี)

เวลาทำการ : จันทร์ - อาทิตย์ 9.00 น. - 20.00 น.

©2019 by JR Physio Clinic. Proudly created with Wix.com

bottom of page